ฝึกหมุนตัวด้วยไม้กอล์ฟ
ฝึกหมุนตัวด้วยไม้กอล์ฟ
แต่ถ้า เอว ไม่หมุนล่ะ...งั้นต้อง Drill Driver ขัดหลัง...
สำหรับท่านนักกอล์ฟที่มีปัญหาเอวไม่หมุน ลำตัวช่วงบนทำงานเร็วกว่าช่วงล่าง ส่วนใหญ่ตีด้วยแขน หรือ แขนลงมาก่อน ตัวไม่ช่วยหมุน...ระยะนั้นหายแน่นอน
ตอนนี้เรามาดูกันดีกว่าครับ แก้ไขง่ายๆ โดยการใช้ Driver ของท่านนั้นเองครับ...
เข้ายืน Address เอาหัวไม้มาพาดไว้ที่หลัง แล้วเอาแขนมาขัดกันไว้ ทีนี้หมุนตัวถ่ายน้ำหนักมาทางขวา (ของคนถนัดขวา) ถ้าเอวยังหมุนไม่สุดเท่าที่ควร ก็ใช้มือและแขนดันก้าน Driver ช่วยดันและดัดหลังเพื่อให้หมุนได้มากขึ้น
ค้างไว้สัก 5 วินาที...หากท่านนักกอล์ฟท่านใดที่เอวไม่หมุน หรือหมุนได้น้อย ก็จะรู้สึก ตรึงๆที่สีข้าง ล่ะครับที่เนี้ย...เสร็จแล้วก็หมุนถ่ายน้ำหนักกลับมา ทำเหมือนเดิม โดยใช้แขนและข้อมือนี่แหละช่วยดัน ก้าน Driver ที่ขัดอยู่ที่หลัง...เอาให้หัวเข็มขัดชี้ไปทางเป้าหมายเลยครับ เริ่มจากช้าๆไปก่อน รักษา Swing Plane เอาไว้ พอเริ่มจับความรู้สึกได้ แล้วก็เริ่มเร็วขึ้นจนเป็นสวิงที่เรียบเลื่อนต่อเนื่องกัน...
ฝึกแบบนี้บ่อยๆ จะช่วยสร้างความรู้สึกของเอวและลำตัวช่วงล่างให้หมุนได้มากขึ้นเลยที่เดียว...
ทั้งหมดนี้ก็หวังว่า คงจะช่วยให้ท่านนักกอล์ฟ ที่มีปัญหาดังกล่าว ได้บ้างอ่ะนะครับ...
ได้ผลอย่างไรอย่าลืมเล่าสู่กันฟังด้วยล่ะครับ...
แต่ถ้า เอว ไม่หมุนล่ะ...งั้นต้อง Drill Driver ขัดหลัง...
สำหรับท่านนักกอล์ฟที่มีปัญหาเอวไม่หมุน ลำตัวช่วงบนทำงานเร็วกว่าช่วงล่าง ส่วนใหญ่ตีด้วยแขน หรือ แขนลงมาก่อน ตัวไม่ช่วยหมุน...ระยะนั้นหายแน่นอน
ตอนนี้เรามาดูกันดีกว่าครับ แก้ไขง่ายๆ โดยการใช้ Driver ของท่านนั้นเองครับ...
เข้ายืน Address เอาหัวไม้มาพาดไว้ที่หลัง แล้วเอาแขนมาขัดกันไว้ ทีนี้หมุนตัวถ่ายน้ำหนักมาทางขวา (ของคนถนัดขวา) ถ้าเอวยังหมุนไม่สุดเท่าที่ควร ก็ใช้มือและแขนดันก้าน Driver ช่วยดันและดัดหลังเพื่อให้หมุนได้มากขึ้น
ค้างไว้สัก 5 วินาที...หากท่านนักกอล์ฟท่านใดที่เอวไม่หมุน หรือหมุนได้น้อย ก็จะรู้สึก ตรึงๆที่สีข้าง ล่ะครับที่เนี้ย...เสร็จแล้วก็หมุนถ่ายน้ำหนักกลับมา ทำเหมือนเดิม โดยใช้แขนและข้อมือนี่แหละช่วยดัน ก้าน Driver ที่ขัดอยู่ที่หลัง...เอาให้หัวเข็มขัดชี้ไปทางเป้าหมายเลยครับ เริ่มจากช้าๆไปก่อน รักษา Swing Plane เอาไว้ พอเริ่มจับความรู้สึกได้ แล้วก็เริ่มเร็วขึ้นจนเป็นสวิงที่เรียบเลื่อนต่อเนื่องกัน...
ทั้งหมดนี้ก็หวังว่า คงจะช่วยให้ท่านนักกอล์ฟ ที่มีปัญหาดังกล่าว ได้บ้างอ่ะนะครับ...
ได้ผลอย่างไรอย่าลืมเล่าสู่กันฟังด้วยล่ะครับ...
ที่มา กอล์ฟโคตรๆ
.........................................................................................................................................
การฝึกหมุนลำตัวด้วยไม้กอล์ฟ การหมุนลำตัวขณะสวิงนั้นควรมีลักษณะท่าทางที่ดีเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการสวิงมากที่สุด นักกอล์ฟสามารถฝึกได้
ด้วยการใช้ไม้กอล์ฟช่วยดังต่อไปนี้
1. นำไม้กอล์ฟพาดหลัง ให้อยู่บริเวณกลางหลัง ใช้ศอกหนีบไม้ไว้
จัดลำตัวให้เอียงมาด้านหน้าเล็กน้อยและยืนกว้างพอเหมาะคล้ายกับ
การจัดท่าทางก่อนสวิง กลางมือและแขนออกพอสมควร
2. หมุนลำตัวให้รู้สึกว่าหลังหันหาเป้าหมายหรือหน้าอกหันสู่ด้านตรง
ข้ามกับเป้าหมาย หรือใหล่ซ้ายชี้ตรงสู่ลูกกอล์ฟ ไม้กอล์ฟจะเป็นส่วน
ที่บังคับให้ร่างกายทุกส่วนทำงานพร้อมกันและเหมาะสมกันที่สุด
3. หมุนลำตัวกลับให้หน้าท้องหันสู่เป้าหมาย จะรู้สึกว่าไม้กอล์ฟช่วยให้
ร่างกายหมุนกลับพร้อมกันอย่างเหมาะสมทุกส่วน
4. ฝึกหมุนให้ใหล่ขวาชี้เป้าหมายถ้าต้องการให้ร่างกายหมุนแบบเต็มที่
ที่มา.....การฝึกหมุนตัวด้วยไม้กอล์ฟ
.......................................................................................................................................
การฝึกดาว์นสวิงด้วยไม้กอล์ฟแบบที่ผมคิดว่า......ดีที่สุด ก่อนหน้านี้ผมจะฝึกการหมุนตัวแบบที่ทุกๆคนทำกัน เปิดตำราเล่มใหนก็จะเห็น โปรกอลฺ์ฟทั้งไทยและต่างประเทศสาธิตการหมุนตัวแบบใช้ไม้กอล์ฟแบกใส่บ่าไหล่แล้วหมุนตัว ไม้กอล์ฟจะเป็นตัวด้นหลังเราให้หมุนได้อย่างสอดคล้องไม่ว่าจะเป็นไหล่ซ้ายหรือไหล่ขวาก็จะหมุนได้คล้ายๆเป็น "แผ่น" เดียวกัน หากไม่ใช้ไม้ช่วยจะรู้สึกว่าบางครั้งไหล่ซ้ายหมุนแต่ไหล่ขวาไม่หมุน วิธีการนี้เป็นที่นิยมมากในการฝึกหมุนตัวหรือวอร์มอัพก่อนการเล่นหรือการซ้อม
วันหนึ่งเมื่อประมาณ 6-7 ปีก่อนโน้น เมื่อครั้งยังสอนอยู่ที่สถาบันสอนกอล์ฟเชาวรัตน์ ผมได้มีโอกาสเข้ารับการอบรมและรับคำแนะนำจาก John Cook โปรสอนกอล์ฟมีชื่อของอังกฤษเมื่อครั้งเดินทางมาแนะนำเทคนิคที่เมืองไทย ได้แนะนำข้อดีของการฝึกหมุนตัวแบบใหม่ (จริงๆก็มีมานานแล้วเช่นกันแต่เป็นวิธีที่รู้สึกว่าใหม่) คือใช้ไม้ช่วยแต่สอดก้านไม้ไว้ที่ข้อศอก ให้ไม้ไขว้หล้งเราอยู่ ก้านจะอยู่ประมาณเหนือเอวเล็กน้อย แล้วฝึกหมุนตัว การฝึกแบบนี้จะทำให้ไม้ดันลำตัวเราทำให้ลำตัวเราหมุน เอวหมุน สะโพกหมุน ไหล่หมุน ทุกส่วนของลำตัวหมุน (หากเปรียบเทียบกับการฝึกหมุนแบบแบกไม้ที่ไหล่จะรู้สึกว่าไหล่หมุน บางครั้งเอวหรือสะโพกไม่หมุน) แต่สำหรับผมแล้ว ผมค้นพบอะไรบางอย่างที่สำคัญยิ่งกว่านั้น และเป็นการค้นพบที่ถือว่า ดีใจมากๆในการสอนกอล์ฟก็ว่าได้ สิ่งที่พบคือ "เป็นการฝึกดาว์นสวิงที่สร้างแนวแบบ inside to inside ได้ดีที่สุด" เนื่องมาจากไม้บังคับให้ตัวเราเปิดเพื่อให้ศอกขวาแนบลำตัวและลำตัวด้านขวาเอียงต่ำ รักษาแกนลำตัวไว้ได้เหมือนเดิมตลอดการสวิงสะโพกขวาบิดขณะอิมแพ็ค ปลายเท้าขวาเอียงแบบนิ้วโป้งกดลงพื้น ใกล้เคียงกับตำแหน่งการอิมแพ็คมากที่สุด.....สุดยอดของการฝึกดาว์นสวิง ตรงกันข้ามกับการฝึกแบบไม้พาดไหล่ ที่มีโอกาสทำให้แนวการสวิงเป็นแบบ Out to in สูงมาก
นับจากวันนั้นหากนักเรียนจะฝึกการดาว์นสวิง ผมมักจะแนะนำแบบเอาไม้ไขว้หลัง ไม่พยายามให้นักเรียนเอาไม้พาดไหล่ ลองฝึกดูครับ อาจจะทำให้การดาว์นสวิงของท่านดีขึ้นก็ได้
.........................................................................................................................................
การฝึกหมุนลำตัวด้วยไม้กอล์ฟ การหมุนลำตัวขณะสวิงนั้นควรมีลักษณะท่าทางที่ดีเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการสวิงมากที่สุด นักกอล์ฟสามารถฝึกได้
ด้วยการใช้ไม้กอล์ฟช่วยดังต่อไปนี้
1. นำไม้กอล์ฟพาดหลัง ให้อยู่บริเวณกลางหลัง ใช้ศอกหนีบไม้ไว้
จัดลำตัวให้เอียงมาด้านหน้าเล็กน้อยและยืนกว้างพอเหมาะคล้ายกับ
การจัดท่าทางก่อนสวิง กลางมือและแขนออกพอสมควร
2. หมุนลำตัวให้รู้สึกว่าหลังหันหาเป้าหมายหรือหน้าอกหันสู่ด้านตรง
ข้ามกับเป้าหมาย หรือใหล่ซ้ายชี้ตรงสู่ลูกกอล์ฟ ไม้กอล์ฟจะเป็นส่วน
ที่บังคับให้ร่างกายทุกส่วนทำงานพร้อมกันและเหมาะสมกันที่สุด
3. หมุนลำตัวกลับให้หน้าท้องหันสู่เป้าหมาย จะรู้สึกว่าไม้กอล์ฟช่วยให้
ร่างกายหมุนกลับพร้อมกันอย่างเหมาะสมทุกส่วน
4. ฝึกหมุนให้ใหล่ขวาชี้เป้าหมายถ้าต้องการให้ร่างกายหมุนแบบเต็มที่
ที่มา.....การฝึกหมุนตัวด้วยไม้กอล์ฟ
.......................................................................................................................................
การฝึกดาว์นสวิงด้วยไม้กอล์ฟแบบที่ผมคิดว่า......ดีที่สุด ก่อนหน้านี้ผมจะฝึกการหมุนตัวแบบที่ทุกๆคนทำกัน เปิดตำราเล่มใหนก็จะเห็น โปรกอลฺ์ฟทั้งไทยและต่างประเทศสาธิตการหมุนตัวแบบใช้ไม้กอล์ฟแบกใส่บ่าไหล่แล้วหมุนตัว ไม้กอล์ฟจะเป็นตัวด้นหลังเราให้หมุนได้อย่างสอดคล้องไม่ว่าจะเป็นไหล่ซ้ายหรือไหล่ขวาก็จะหมุนได้คล้ายๆเป็น "แผ่น" เดียวกัน หากไม่ใช้ไม้ช่วยจะรู้สึกว่าบางครั้งไหล่ซ้ายหมุนแต่ไหล่ขวาไม่หมุน วิธีการนี้เป็นที่นิยมมากในการฝึกหมุนตัวหรือวอร์มอัพก่อนการเล่นหรือการซ้อม
วันหนึ่งเมื่อประมาณ 6-7 ปีก่อนโน้น เมื่อครั้งยังสอนอยู่ที่สถาบันสอนกอล์ฟเชาวรัตน์ ผมได้มีโอกาสเข้ารับการอบรมและรับคำแนะนำจาก John Cook โปรสอนกอล์ฟมีชื่อของอังกฤษเมื่อครั้งเดินทางมาแนะนำเทคนิคที่เมืองไทย ได้แนะนำข้อดีของการฝึกหมุนตัวแบบใหม่ (จริงๆก็มีมานานแล้วเช่นกันแต่เป็นวิธีที่รู้สึกว่าใหม่) คือใช้ไม้ช่วยแต่สอดก้านไม้ไว้ที่ข้อศอก ให้ไม้ไขว้หล้งเราอยู่ ก้านจะอยู่ประมาณเหนือเอวเล็กน้อย แล้วฝึกหมุนตัว การฝึกแบบนี้จะทำให้ไม้ดันลำตัวเราทำให้ลำตัวเราหมุน เอวหมุน สะโพกหมุน ไหล่หมุน ทุกส่วนของลำตัวหมุน (หากเปรียบเทียบกับการฝึกหมุนแบบแบกไม้ที่ไหล่จะรู้สึกว่าไหล่หมุน บางครั้งเอวหรือสะโพกไม่หมุน) แต่สำหรับผมแล้ว ผมค้นพบอะไรบางอย่างที่สำคัญยิ่งกว่านั้น และเป็นการค้นพบที่ถือว่า ดีใจมากๆในการสอนกอล์ฟก็ว่าได้ สิ่งที่พบคือ "เป็นการฝึกดาว์นสวิงที่สร้างแนวแบบ inside to inside ได้ดีที่สุด" เนื่องมาจากไม้บังคับให้ตัวเราเปิดเพื่อให้ศอกขวาแนบลำตัวและลำตัวด้านขวาเอียงต่ำ รักษาแกนลำตัวไว้ได้เหมือนเดิมตลอดการสวิงสะโพกขวาบิดขณะอิมแพ็ค ปลายเท้าขวาเอียงแบบนิ้วโป้งกดลงพื้น ใกล้เคียงกับตำแหน่งการอิมแพ็คมากที่สุด.....สุดยอดของการฝึกดาว์นสวิง ตรงกันข้ามกับการฝึกแบบไม้พาดไหล่ ที่มีโอกาสทำให้แนวการสวิงเป็นแบบ Out to in สูงมาก
นับจากวันนั้นหากนักเรียนจะฝึกการดาว์นสวิง ผมมักจะแนะนำแบบเอาไม้ไขว้หลัง ไม่พยายามให้นักเรียนเอาไม้พาดไหล่ ลองฝึกดูครับ อาจจะทำให้การดาว์นสวิงของท่านดีขึ้นก็ได้
ด้วยความปรารถนาดี
โปรเอ็ดดี้
โปรเอ็ดดี้
วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
การวิเคราะห์วงสวิง
ขั้นตอนของวงสวิงกอล์ฟ
1. ท่าการยืน,การจรดไม้ ( Set up )
2. การลากไม้ ( Back Swing-Takeaway )
3. ตำแหน่งครึ่งวง ( Back Swing-Half Swing )
4. ตำแหน่งสูงสุดของวงสวิง ( Top Swing )
5. ตำแหน่งเริ่มการเข้าตีลูก ( Down Swing )
6. ตำแหน่งจุดตีลูก,ปะทะลูก ( Impact )
7. ตำแหน่งการส่งถ่ายพลัง ( Follow through )
8. ตำแหน่งของท่าจบของวงสวิง ( Finish )
********************************************************************************
1. ท่าการยืน,การจรดไม้ ( Set up )
ครึ่งวงสวิง ( Half Swing )
เป็นตำแหน่งที่ไม้กอล์ฟถูกยกขึ้นมาจนก้านไม้ขนานกับพื้น ปลายของกริพที่เราเอามือจับอยู่จะชี้ไปที่เป้าหมาย หน้าไม้จะปิดเล็กน้อย หน้าและศีรษะนิ่ง สายตายังมองอยู่ที่ลูกกอล์ฟตลอดเวลา การถ่ายน้ำหนักก็จะถ่ายมาสู่ขาขวาประมาณ 70 % แล้ว
ขั้นตอนการทำ Cocking & Hinging
เป็นจุดที่เกิดการปะทะกันระหว่างหน้ากับลูกกอล์ฟ ซึ่งจะเกิดแรงกระแทกที่สัมผัสได้อย่างชัดเจน การ Impact ที่ดี ถูกกลางหน้าไม้ แรงและพลังงานก็จะถูกถ่ายทอดไปยังลูกกอล์ฟได้เต็มที่ และขอบของใบเหล็กก็จะช่วยกระจายแรงกระแทกออกไป ทำให้เรารู้สึกว่าการตีนั้นนุ่มนวล ผ่านไปอย่างสบายและลูกกอล์ฟก็พุ่งออกไปสู่เป้าหมายได้อย่างตั้งใจ ตรงกันข้าม ถ้า Impact ไม่ดี โดนไม่เต็มกลางหน้าไม้ อาการสะท้านมือและแขนจะเกิดขึ้นมาทันที บางครั้งถึงกับบากเจ็บได้ ลูกกอล์ฟก็พุ่งออกไปได้ไม่ดี ไม่ได้ระยะ
จุดสำคัญที่ควรคำนึงถึงตำแหน่งของการ Impact
1. ขณะที่หน้าไม้ปะทะลูก ศีรษะยังต้องอยู่หลังลูก
2. แขนซ้ายเหยียดตึง และไม่มีการหักพับข้อมือ
3. เท้าซ้ายต้องยันอย่างเต็มที่
Follow through ก็มีความสำคัญมากอีกจุดหนึ่ง นักกอล์ฟสมัครเล่นจำนวนมากทำจุดนี้ได้ไม่ดีนัก คือหลังจากการตีลูกแล้ว กลับหยุดและดึงไม้กอล์ฟเข้าหาตัว ผลก็คือทำให้ตีไม่ได้ระยะ และวิถีของลูกกอล์ฟกส่วนมากก็จะเลี้ยวขวาออกไปจากเป้าหมาย
จุดสำคัญของการ Follow through ก็คือ หลังจากการ Impactแล้ว ต้องทำการดันส่งมือและแขนออกไปให้สุดสวิงเสียก่อน โดยเฉพาะมือขวาและแขนขวาที่ทำหน้าที่เฆี่ยน ออกแรงในการตี ท่อนแขนขวาต้องเหยียดตรงสุดหัวไหล่ มือขวาพลิกไปทับมือซ้าย และที่ห้ามลืมเด็ดขาดก็คือการยันของเท้าซ้ายในจังหวะการ Follow through
ลักษณะของท่าจบที่ดี.
1. สามารถยืนจบได้นิ่ง รักษาสมดุลได้
2. น้ำหนักของการยืนอยู่บนขาซ้ายเกือบหมด
3. ลำตัวหันเข้าหาเป้าหมาย.
ที่มา....http://www.golfprojack.com
1. ท่าการยืน,การจรดไม้ ( Set up )
2. การลากไม้ ( Back Swing-Takeaway )
3. ตำแหน่งครึ่งวง ( Back Swing-Half Swing )
4. ตำแหน่งสูงสุดของวงสวิง ( Top Swing )
5. ตำแหน่งเริ่มการเข้าตีลูก ( Down Swing )
6. ตำแหน่งจุดตีลูก,ปะทะลูก ( Impact )
7. ตำแหน่งการส่งถ่ายพลัง ( Follow through )
8. ตำแหน่งของท่าจบของวงสวิง ( Finish )
********************************************************************************
1. ท่าการยืน,การจรดไม้ ( Set up )
การลากไม้ ( Takeaway )
เป็นการเริ่มต้นของสวิงกอล์ฟ ซึ่งถ้าเรามีการเริ่มต้นที่ดี ก็เชื่อได้ว่าก็น่าจะมีสวิงที่ดีไปด้วย จุดสำคัญของจังหวะการทำ Takeaway ก็คือต้องกระทำอย่างราบเรียบ ไม่กระชาก เคลื่อนไหวเฉพาะหัวไหล่และแขนซ้าย ค่อยๆ หมุนหัวไหล่ซ้ายและแขนซ้ายลอดใต้คาง โดยที่สายตายังคงมองอยู่ที่ลูกกอล์ฟ รักษาตัว Y ไว้ในระยะ 2-3 ฟุตแรกของการลากไม้
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
ครึ่งวงสวิง ( Half Swing )
เป็นตำแหน่งที่ไม้กอล์ฟถูกยกขึ้นมาจนก้านไม้ขนานกับพื้น ปลายของกริพที่เราเอามือจับอยู่จะชี้ไปที่เป้าหมาย หน้าไม้จะปิดเล็กน้อย หน้าและศีรษะนิ่ง สายตายังมองอยู่ที่ลูกกอล์ฟตลอดเวลา การถ่ายน้ำหนักก็จะถ่ายมาสู่ขาขวาประมาณ 70 % แล้ว
หลังจากการทำ Back Swing ถึงตำแหน่ง Haft Swing แล้ว ขั้นตอนต่อไปก็คือการหักข้อมือขึ้น แล้วยกหมุนสู่ตำแหน่ง Top Swing
ในการหักข้อมือขึ้นจะมีด้วยกัน 2 ลักษณะคือ
1.การหักข้อมือซ้าย ( Cocking ) เป็นการหักข้อมือซ้ายเพื่อทำให้ท่อนแขนซ้ายทำมุมฉากกับก้านไม้กอล์ฟ ซึ่งหลังมือซ้ายจะขนานกันท่อนแขนซ้าย จึงจะเป็นมุมที่ถูกต้อง
2.การพับข้อมือขวา ( Hinging ) หลังมือขวาจะทำมุมกับท่อนแขนขวาเล็กน้อย
**************************************************
จุดสูงสุดของวงสวิง( Top Swing )
เป็นจุดที่สำคัญมากจุดหนึ่งของวงสวิง นักกอล์ฟที่ประสบความสำเร็จในกีฬากอล์ฟ ส่วนมากจะต้องมี Top Swing ที่ดีมีประสิทธิภาพด้วยกันทุกคน เพราะจะเป็นจุดในการสะสมพลังงาน และกลไกในการส่งถ่ายพลังงานทั้งหมดเข้าสู่การปะทะลูก
จุดที่สำคัญมากๆ ของตำแหน่ง Top Swing ที่ควรตรวจเช็คบ่อยๆ
1.ข้อศอกขวาต้องอยู่ต่ำกว่าหัวไหล่ และชี้ลงพื้น
2.ท่อนแขนซ้ายต้องเหยียดตรง และหลังมือซ้ายต้องขนานกับแนวของท่อนแขน
3.น้ำหนักตัวต้องถูกถ่ายมายังขาขวาเกือบหมด
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
การเริ่มเข้าตีลูก ( Down Swing )
เป็นจุดที่เริ่มลดไม้ลงมาเพื่อเริ่มการถ่ายทอดพลังงานเข้าสู่การปะทะลูก ลำดับการทำงานในขั้นตอนนี้อันดับแรกเลยก็คือ ต้องเปิดสะโพกซ้ายให้เริ่มหมุนไปด้านหลังก่อน เสมือนเป็นการเปิดประตูต้อนรับพลังงานทั้งหลายเข้าสู่การปะทะลูกกอล์ฟ แล้วขบวนการของการถ่ายน้ำหนักจากซีกขวาไปยังซีกซ้ายจึงจะเกิดขึ้นได้อยางสมบูรณ์
อีกหนึ่งจุดที่ต้องให้ความสำคัญมากๆ เช่นกัน ก็คือจุดของการหักข้อมือ ในตำแหน่ง Top Swing เมื่อเริ่มทำการ Down Swing ลงมา จะต้องรักษามุมนั้นไว้ก่อน ห้ามรีบคลายออก วิธีรักษามุมของข้อมือนี้ไว้ก็คือ เวลา Down Swing ลงมา ให้มีความรู้สึกว่าปลายส้นของกริพเป็นตัวนำลงมาก่อน
เราจะมาเริ่มคลายมุมของข้อมือก่อนเข้าปะทะลูก ( Impact ) เมื่อตำแหน่งของมือลดลงมาก่อนถึงลูกกอล์ฟ 3-4 ฟุต เท่านั้น แล้วจึงค่อยสบัดพลิกข้อมือเฆี่ยนเข้าไปที่ลูกกอล์ฟ หรือทางภาษากอล์ฟเราเรียกว่า "Snap " นั่นเอง
.........................................................................................................................................
จุดที่หน้าไม้ปะทะลูก ( Impact )
************************************************************************
การส่งต่อพลังงาน ( Follow through )
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
ท่าจบสวิง ( Finish )
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการสวิงกอล์ฟ และสามารถบ่งบอกถึงประสิทธิภาพของสวิงในช็อทนั่นๆ ได้เป็นอย่างดี เพราะถ้าเราสามารถจบสวิงได้ดี ยืนได้อย่างมั่นคง รักษาสมดุลได้ เกือบจะ 100% ช็อทๆนั่นจะเป็นช็อทที่ดี วันศุกร์ที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕
หัวใจสำคัญของการออกรอบ (ตีกอล์ฟ)
หัวใจสำคัญของการออกรอบ (ตีกอล์ฟ)
หัวใจสำคัญของการออกรอบ (ตีกอล์ฟ)
จะทำสกอร์ให้ได้ดี ต้องเล่นด้วยสมอง วางแผนการเล่น.
เทคนิคการพัตต์
กลยุทธการอ่านกรีนก่อนลงมือพัตต์ CURTIS STRANGE แนะนำไว้ 5 ขั้นตอนด้วยกันคือ
3 เบสิคง่ายๆ ในการพัท
1. ท่ายืนและการจับกริป
2. การขึ้นไม้และสโตรกในการพัทควรจะทำให้หัวไม้พัทของเรา อยู่เลียดพื้นให้มากที่สุด ทั้งตอนลากไม้พัทขึ้น และเมื่อพัทลูกไปแล้ว ที่สำคัญ ควรจะพัทให้หัวไหล่ แขน และมือ ไปพร้อมๆกันหมด (รักษาสามเหลี่ยมให้คงที่) ไม่ให้พัทด้วยมือหรือแขนเพียงอย่างเดียว 3. ขึ้นสั้น ดันยาว ( Follow Through ) แบ้คสวิงให้น้อย แล้วจบการพัทให้ไม้ผ่านลูกมากกว่าระยะแบ้คสวิง
หน้านิ่งโดยเฉพาะเวลาพัทลูกขึ้น ท่านทราบไหมว่าท่านพัทลูกสั้นๆ ไม่ลงนับครั้งไม่ถ้วนเพียงเพราะหน้าท่านไม่นิ่งเท่านั้น? ถ้าท่านมีปัญหาชอบผลของลูกดังกล่าว ท่านต้องลองพยายามใหม่ โดยไม่หันหน้าไปไหนเลยจนกว่าท่านแน่ใจว่าลูกหยุดกลิ้งแล้วและส่วนมากท่านจะได้ยินและพอใจกับเสียงที่ลูกวิ่งหลุมดัง " พล็อก "
พัทลูกโดยสัญชาตญาณ การพัทลูกสั้นๆ ( ตั้งแต่ 1-3 ฟุต ) แนะนำว่าให้พัทโดยสัญชาตญาณ
อย่าจ้องนานเพราะจะเกิดการเกร็ง ทำให้ท่านแตะลูกเฉยๆ ให้คิดว่าต้องพัทลงแน่ พอจรดลูกแล้วก็พัทโผละไปเลย หากหลุมเอียงมากให้เผื่อแค่ปากในก็พอ ไม่ต้องเผื่อถึงนอกหลุม เพราะลูกสั้นมากๆ เวลาที่ลูกจะเลี้ยวเข้า LIE มีไม่มาก ฉะนั้นจึงไม่ต้องเผื่อมาก
- การพัตต์ที่ถูกต้อง แขนซ้ายจะต้องไม่ยืด-ไม่หดตลอดการพัตต์
วิธีรักษาแขนซ้ายไม่ให้ยืด และไม่ให้หดทั้งตอนแบ็คสวิง
ดาวน์สวิง และฟอลโลว์ ธรู ทำได้ด้วยการรักษามุมของข้อศอกซ้ายให้คงที่ตลอดวงสวิง ถ้ารักษามุมของข้อศอกซ้ายคงที่ จะบังคับให้แขนกับไหล่ทำงานเป็นชิ้นเดียวกันตลอดวงสวิง เส้นทางเดินของหน้าพัตเตอร์จะคงเส้นคงวาทุกครั้ง เหมือนการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา - อย่าพยายามสโตรคพัตต์แบบกระแทก ถ้าให้ดียิ่งขึ้นเมื่อพัตต์เสร็จควรนับ 1-2-3 ในใจแล้วค่อยมองลูก จะทำให้ลูกวิ่งตรงเข้าหาหลุมอย่างมั่นคง
- ควรจะคิดว่าจะต้องพัทให้เลยหลุมไปซัก 1 ฟุต (อย่าลืมว่า ถ้าพัทสั้น ลูกกอล์ฟไม่มีทางลงหลุม ถ้าพัทเลย ยังมีโอกาสลง)
|
วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕
พัตต์กอล์ฟแบบ Pendulum (ลูกตุ้ม) ที่ดีย่อมมีชัยไปกว่าครึ่ง
พัตต์กอล์ฟแบบ Pendulum (ลูกตุ้ม) ที่ดีมีชัยไปกว่าครึ่ง
การพัตต์กอล์ฟเป็นการเริ่มต้นขั้นแรกของการเล่นกอล์ฟซึ่งวิธีการฝึกฝนก็มีหลายรูปแบบให้เลือกตามความถนัดของผู้เล่น แต่วันนี้เรามีวิธีการพัตต์แบบไม่ยากนั่นคือการพัตต์แบบ Pendulum หรือชื่อไทย แบบลูกตุ้ม วิธีการฝึกการพัตต์กอล์ฟแบบ Pendulum ให้มีประสิทธิภาพนั้นมีทางเทคนิคอยู่ 3 ประการหลัก ขั้นต้นดังต่อไปนี้
ขั้นตอนแรก แนวทางการเดินของตัวพัตเตอร์มีลักษณะเป็น “ลูกตุ้ม (Pendulum)” คือ ถอยและปล่อยตรงไปตามเส้นเป้าหมายด้วย โดยใช้หัวไหล่บังคับแขน มือ และไม้กอล์ฟเคลื่อนไปพร้อมๆ กันให้เป็นหนึ่งเดียว (เป็นการพัตต์ที่นิยมมากที่สุดใน PGA TOUR) เราสามารถปรับความยาวของไม้ให้เหมาะสมและพอดีกับรูปร่างของเราได้ตามความถนัด
ขั้นตอนต่อไป ในการจัดตัวพัตเตอร์สามารถทำให้ลูกกอล์ฟเข้ากลางหน้าไม้ จัดรูปแบบให้ได้องศา
ขั้นตอนสุดท้าย ตรงจุดปะทะสามารถจัดหน้าของตัวพัตเตอร์ให้ขนานกับเป้าหมาย หัวไม้พัตต์จะต้องสวิงขึ้นและลงในแนวที่ถูกต้อง ด้วยหน้าไม้ที่สแควร์ผ่านจุดกระทบ พัตต์ลูกด้วยน้ำหนักและทิศทางที่สามารถควบคุมได้
หากเราสามารถฝึกให้เป็นประจำทั้งสามขั้นตอนนี้แล้วเราก็จะสามารถเป็นนักกอล์ฟที่มีฝีมือและทำสกอร์ได้ดีอย่างแน่นอน ลองสังเกตได้เลยว่าแชมป์ในแต่ละรายการจะต้องมีการพัตที่ดีทั้งสิ้นดังนั้นจึงควรให้ความสำคัญกับเกมส์การพัตของเราให้มากขึ้น ฝึกซ้อมเพื่อให้เกิดความมั่นใจ และให้ความมั่นใจนั้นติดตัวเราไปตลอดเวลา
no wageslips loans uk
ที่มา : เรียบเรียงโดย ไทยกอล์ฟกูรู
การพัตต์กอล์ฟเป็นการเริ่มต้นขั้นแรกของการเล่นกอล์ฟซึ่งวิธีการฝึกฝนก็มีหลายรูปแบบให้เลือกตามความถนัดของผู้เล่น แต่วันนี้เรามีวิธีการพัตต์แบบไม่ยากนั่นคือการพัตต์แบบ Pendulum หรือชื่อไทย แบบลูกตุ้ม วิธีการฝึกการพัตต์กอล์ฟแบบ Pendulum ให้มีประสิทธิภาพนั้นมีทางเทคนิคอยู่ 3 ประการหลัก ขั้นต้นดังต่อไปนี้
ขั้นตอนแรก แนวทางการเดินของตัวพัตเตอร์มีลักษณะเป็น “ลูกตุ้ม (Pendulum)” คือ ถอยและปล่อยตรงไปตามเส้นเป้าหมายด้วย โดยใช้หัวไหล่บังคับแขน มือ และไม้กอล์ฟเคลื่อนไปพร้อมๆ กันให้เป็นหนึ่งเดียว (เป็นการพัตต์ที่นิยมมากที่สุดใน PGA TOUR) เราสามารถปรับความยาวของไม้ให้เหมาะสมและพอดีกับรูปร่างของเราได้ตามความถนัด
ขั้นตอนสุดท้าย ตรงจุดปะทะสามารถจัดหน้าของตัวพัตเตอร์ให้ขนานกับเป้าหมาย หัวไม้พัตต์จะต้องสวิงขึ้นและลงในแนวที่ถูกต้อง ด้วยหน้าไม้ที่สแควร์ผ่านจุดกระทบ พัตต์ลูกด้วยน้ำหนักและทิศทางที่สามารถควบคุมได้
หากเราสามารถฝึกให้เป็นประจำทั้งสามขั้นตอนนี้แล้วเราก็จะสามารถเป็นนักกอล์ฟที่มีฝีมือและทำสกอร์ได้ดีอย่างแน่นอน ลองสังเกตได้เลยว่าแชมป์ในแต่ละรายการจะต้องมีการพัตที่ดีทั้งสิ้นดังนั้นจึงควรให้ความสำคัญกับเกมส์การพัตของเราให้มากขึ้น ฝึกซ้อมเพื่อให้เกิดความมั่นใจ และให้ความมั่นใจนั้นติดตัวเราไปตลอดเวลา
ที่มา : เรียบเรียงโดย ไทยกอล์ฟกูรู
วันอาทิตย์ที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
หัดตีกอล์ฟ
การเริ่มหัดตีกอล์ฟ
หัวใจสำคัญของการเล่นกอล์ฟ คือ วงสวิง ซึ่งประกอบด้วย หลักสำคัญ ३ ประการ คือ- การจับด้ามไม้กอล์ฟ- ท่ายืน และการยืนจรดลูก
- วงสวิง
10 เบสิคเริ่มต้น ของการหัดเล่นกอล์ฟ
การหัดเล่นกอล์ฟใหม่ ถ้ามีพื้นฐานที่ถูกต้องตั้งแต่
แรกเริ่ม โอกาสที่จะพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว และสม่ำเสมอ
จะมีสูงกว่า ที่เริ่มหัดตีเองโดยยังไม่รู้เบสิคเริ่มต้น
ของกอล์ฟก่อน10 เบสิค ขั้นพื้นฐาน ของการเล่นกอล์ฟ มีดังต่อไปนี้
การหัดเล่นกอล์ฟใหม่ ถ้ามีพื้นฐานที่ถูกต้องตั้งแต่
แรกเริ่ม โอกาสที่จะพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว และสม่ำเสมอ
จะมีสูงกว่า ที่เริ่มหัดตีเองโดยยังไม่รู้เบสิคเริ่มต้น
ของกอล์ฟก่อน10 เบสิค ขั้นพื้นฐาน ของการเล่นกอล์ฟ มีดังต่อไปนี้
1. การจับกริป และการวางตำแหน่งมือให้ถูกต้อง
การวางมือซ้ายมือซ้าย ให้วางไม้ จากโคนนิ้วก้อยเฉียง
ไปทาง ปลายนิ้วชี้ แล้วคว่ำมือลง เมื่อมองมาที่มือ
ให้มองเห็นข้อด้านบนของนิ้วชี้ (ตามรูป)
2। ระยะห่างของเท้า ตอนจรดลูกก่อนสวิง
ระยะห่างของเท้าระยะห่างของเท้า ยืนให้มีความกว้าง
เท่ากับไหล่
ของตัวเอง (เหล็ก 7) ตำแหน่งลูกกอล์ฟ
ให้อยู่ค่อนมาทางเท้าซ้ายเล็กน้อย
4। ท่ายืน
ท่ายืนท่ายืน ให้เอนตัวมาด้านหน้า รักษาแผ่นหลังตรง
ย่อเข่าเล็กน้อย ทิ้งแขนลงตามสบาย โดยไม่เกร็ง
ให้แขนซ้ายตึง แขนขวาหย่อนได้เล็กน้อย ทิ้งน้ำหนักตัว
ให้อยู่ส้นเท้าหลังมากกว่าปลายเท้า ให้แนวปลายเท้า
และแนวไหล่ ขนานไปกับ เป้าหมายที่จะตีไป
6। การขึ้นไม้ และการรักษาแนวสวิงของไม้กอล์ฟ
ย่อเข่าเล็กน้อย ทิ้งแขนลงตามสบาย โดยไม่เกร็ง
ให้แขนซ้ายตึง แขนขวาหย่อนได้เล็กน้อย ทิ้งน้ำหนักตัว
ให้อยู่ส้นเท้าหลังมากกว่าปลายเท้า ให้แนวปลายเท้า
และแนวไหล่ ขนานไปกับ เป้าหมายที่จะตีไป
6। การขึ้นไม้ และการรักษาแนวสวิงของไม้กอล์ฟ
การขึ้นไม้ การขึ้นแบ้คสวิง ให้หมุนไหล่ซ้าย มาจนกระทั่ง
ไหล่ซ้ายชี้ ลงไปที่ตำแหน่งลูกกอล์ฟอยู่โดยรักษาแนวสวิง
ของไม้ ให้เป็นแนวตรง และค่อนข้างชันเล็กน้อย
ไหล่ซ้ายชี้ ลงไปที่ตำแหน่งลูกกอล์ฟอยู่โดยรักษาแนวสวิง
ของไม้ ให้เป็นแนวตรง และค่อนข้างชันเล็กน้อย
ตำแหน่งของมือและแขนทั้งสองข้างตำแหน่งของมือ
เมื่อแบ๊คสวิงสุดแล้ว ให้หักข้อมือ โดยให้ไม้และ
แขนซ้ายทำมุม ได้ 90 องศา รักษาหลังมือซ้ายให้ตรง
แขนซ้ายเหยียดตรง โดยที่ไม่เกร็ง
แขนขวาพับตรงข้อศอกด้านใน ทำมุม 90 องศา
และรักษาระดับข้อศอกให้ขนานพื้น
การถ่ายน้ำหนัก วงสวิงที่ดี จะต้องมีการถ่ายน้ำหนักตัว
ทั้งแบ๊คสวิงและ ดาวน์สวิง การถ่ายน้ำหนักที่ถูกต้อง
จะช่วยให้การตีใช้แรงน้อยลง ควบคุมการสวิง
และทิศทางลูกได้ดีขึ้น
9। การควบคุมหน้าไม้ ขณะนำหน้าไม้เข้ากระทบลูกกอล์ฟ
ทั้งแบ๊คสวิงและ ดาวน์สวิง การถ่ายน้ำหนักที่ถูกต้อง
จะช่วยให้การตีใช้แรงน้อยลง ควบคุมการสวิง
และทิศทางลูกได้ดีขึ้น
9। การควบคุมหน้าไม้ ขณะนำหน้าไม้เข้ากระทบลูกกอล์ฟ
การควบคุมหน้าไม้หน้าไม้ตอนกระทบลูก
ควรจะอยู่ในตำแหน่งเดิม เมือนตอนจรดไม้
การหมุนของมือระหว่าง วงสวิง ควรจะหมุนธรรมชาติ
และไม่เกร็ง ซึ่งจะทำให้หน้าไม้กลับมากระทบลูก
ในตำแหน่งเดิมได้
ท่าจบวงสวิง ท่าจบวงสวิงที่ถูกต้อง ควรจะถ่ายน้ำหนัก
และหมุนตัวไปทางซ้ายจนสุด ให้รู้สึกว่าน้ำหนักตัวอยู่
ที่เท้าซ้าย ตำแหน่งหน้าให้อยู่นิ่งมากที่สุด
ไม่จำเป็นต้องมองลูกทันทีที่ตีออกไป
ควรจะตีให้จบวงสวิงเสียก่อน แล้วค่อยมองลูกกอล์ฟ
ท่าจบจะต้องไม่รู้สึกเกร็ง และจะต้องยืนให้อยู่
ถ้ายืนไม่อยู่แสดงว่าทิ้งน้ำหนักมาที่ไหล่มากเกินไป
ที่มา Golf Tips ควรรู้ http://www.thailadygolf.com
และหมุนตัวไปทางซ้ายจนสุด ให้รู้สึกว่าน้ำหนักตัวอยู่
ที่เท้าซ้าย ตำแหน่งหน้าให้อยู่นิ่งมากที่สุด
ไม่จำเป็นต้องมองลูกทันทีที่ตีออกไป
ควรจะตีให้จบวงสวิงเสียก่อน แล้วค่อยมองลูกกอล์ฟ
ท่าจบจะต้องไม่รู้สึกเกร็ง และจะต้องยืนให้อยู่
ถ้ายืนไม่อยู่แสดงว่าทิ้งน้ำหนักมาที่ไหล่มากเกินไป
ที่มา Golf Tips ควรรู้ http://www.thailadygolf.com
สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น